เอกสารชี้แจงจากสมาคมโภชนาการเด็กแห่งประเทศไทย
เรื่อง การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ "นมวัว ทำลายสุขภาพ" ทางสื่อสังคมออนไลน์
เอกสารชี้แจงจากสมาคมโภชนาการเด็กแห่งประเทศไทย
เรื่อง การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ "นมวัว ทำลายสุขภาพ" ทางสื่อสังคมออนไลน์
"แนวเวชปฏิบัติสำหรับการให้อาหารทางหลอดเลือดดำในทารกและเด็ก พ.ศ. 2565" (ฉบับปรับปรุง 26 ต.ค. 2566)
แนวเวชปฏิบัติสำหรับการดูแล "ผู้ป่วยเด็กโรคขาดสารอาหารเฉี
จัดทำโดยกุมารแพทย์ผู้เชี่
ในช่วงที่ผ่านมา การบริโภคนมวัวเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันทางสื่อสังคม ทำให้ผู้ปกครองมีคำถามเกี่ยวกับ
การบริโภคนมวัวของเด็กไทย ซึ่งกุมารแพทย์ควรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องโดยมีพื้นฐานอยู่บนผลการศึกษาเชิง
ประจักษ์และหลักฐานทางการแพทย์ที่มีในปัจจุบัน ประเด็นที่สำคัญได้แก่
อาหารเป็นปัจจัยสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษย์ ความต้องการสารอาหารมีความแตกต่างกันในแต่ละช่วงอายุ โดยช่วงวัยทารกมีนมเป็นอาหารหลัก นมแม่ถือเป็นอาหารที่สําคัญสําหรับทารก เนื่องจากมีสารอาหารครบถ้วน มีภูมิคุ้มกันที่เหมาะสมกับทารก และส่งผลดีต่อสุขภาพระยะยาว เมื่อทารกอายุมากกว่า 6 เดือน ทารกจะมีความต้องการสารอาหารมากขึ้น ทําให้ต้องรับอาหารตามวัยที่เหมาะสมควบคู่ไปกับนมแม่ ในวัยเด็กอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป อาหารหลัก 3 มื้อ นมระหว่างมื้อ และอาหารว่าง มีบทบาทสําคัญที่จะทําให้เด็กมีการเจริญเติบโตสมวัย ซึ่งจะเห็นว่านมเป็นเพียงส่วนหนึ่งของอาหาร 5 หมู่ นอกจากช่วงอายุแล้ว ควา